PEACE TV LIVE

วันพุธที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2556

ความจริง เรื่อง IMF



http://www.imf.org/external/np/fin/tad/extrans1.aspx?memberkey1=940&endDate=2011-06-28&finposition_flag=yes

พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี จำเป็นต้องกู้เงินจาก IMFมาเพื่อพยุงสถานะของประเทศเมื่อ 22 กรกฎาคา 2540 จำนวน 17200 ล้านเหรียญ 
โดยได้เซ็นสัญญา ฉบับที่หนึ่ง วันที่ 14 ส.ค.2540  และ ฉบับที่สอง เมื่อวันที่14พย.2540
 (เงื่อนไขและวิธีการรับเงินกู้ไอเอ็มเอฟ คือ ไอเอ็มเอฟจะทยอยส่งเงินให้เป็นงวดๆ 3 เดือนต่อหนึ่งงวด โดยแต่ละงวด รัฐบาลไทยก็จะต้องลงนามในหนังสือแสดงเจตจำนง หรือ Letter of Intent : LOI เป็นเงื่อนไขพันธะผูกพันที่จะต้องปฏิบัติตาม)
พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ เิบิกมา2งวด คือเดือนสิงหา จำนวน 1,200,000,000 SDRs และ ธันวา จำนวน 600,000,000 SDRs  (งวดที่สองเซ็นสัญญาวันที่14พย.40 ไม่ทันได้ใช้เงินเพราะลาออกก่อน ลาออกวันที่ 9พย.40  )
วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 (- 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544) รัฐบาลชวนเข้ามาบริหารงานแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจต่อ และได้เบิกเงินกู้เพิ่มอีกเป็นจำนวนเงินรวม 10300 ล้านเหรียญ
 รวมรบ.ชวลิต และ รบ.ชวนกู้ไอเอ็มเอฟมา 14300ล้านเหรียญ (ประมาณ 5.1แสนล้านบาท)










 รัฐบาลชวน ได้จ่ายหนี้ เพียงงวดเดียวจำนวน1หมื่นล้านบาท (150,000,000SDrs)เมื่อวันที่ 14 สค. 43 เพราะลาออกจากตำแหน่ง วันที่9กพ.44 ก่อนจะเงินงวดวันที่ 14กพ.44(เงื่อนไขและวิธีการจ่ายคืนเงินกู้ไอเอ็มเอฟ คือ เงินกู้แต่ละงวดแต่ละก้อน จะต้องจ่ายคืนเมื่อครบกำหนด 3 ปี ยกตัวอย่าง ก้อนที่ได้มา 14 พ.ย. 40 ก็มีกำหนดจ่ายคืน 14 พ.ย. 43 (นับไปอีก 3 ปี) เป็นต้น


 พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เข้าดำรงตำแหน่งนายกเมื่อวันที่ 9กพ.44 ต่อจาก นายชวน จึงต้องรับใช้หนี้ที่ สองรัฐบาลกู้จากไอเอ็มเอฟมา จำนวน 5แสนล้านบาท และ จำนวนเงินที่ชำระก่อนกำหนด คือ 60000ล้านบาท
 พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เข้าดำรงตำแหน่งนายกเมื่อวันที่ 9กพ.44 ต่อจาก นายชวน จึงต้องรับใช้หนี้ที่ สองรัฐบาลกู้จากไอเอ็มเอฟมา จำนวน 5แสนล้านบาท และ จำนวนเงินที่ชำระก่อนกำหนด คือ 60000ล้านบาท






 พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เข้าดำรงตำแหน่งนายกเมื่อวันที่ 9กพ.44 ต่อจาก นายชวน จึงต้องรับใช้หนี้ที่ สองรัฐบาลกู้จากไอเอ็มเอฟมา จำนวน 5แสนล้านบาท และ จำนวนเงินที่ชำระก่อนกำหนด คือ 60000ล้านบาท





พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี จำเป็นต้องกู้เงินจาก IMFมาเพื่อพยุงสถานะของประเทศเมื่อ 22 กรกฎาคา 2540 จำนวน 17200 ล้านเหรียญ 
โดยได้เซ็นสัญญา ฉบับที่หนึ่ง วันที่ 14 ส.ค.2540  และ ฉบับที่สอง เมื่อวันที่14พย.2540
 (เงื่อนไขและวิธีการรับเงินกู้ไอเอ็มเอฟ คือ ไอเอ็มเอฟจะทยอยส่งเงินให้เป็นงวดๆ 3 เดือนต่อหนึ่งงวด โดยแต่ละงวด รัฐบาลไทยก็จะต้องลงนามในหนังสือแสดงเจตจำนง หรือ Letter of Intent : LOI เป็นเงื่อนไขพันธะผูกพันที่จะต้องปฏิบัติตาม)
พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ เิบิกมา2งวด จำนวนเงิน4000ล้านเหรียญ (งวดที่สองเซ็นสัญญาวันที่14พย.40 ไม่ทันได้ใช้เงินเพราะลาออกก่อน ลาออกวันที่ 9พย.40  )

 วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 (- 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544) รัฐบาลชวนเข้ามาบริหารงานแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจต่อ และได้เบิกเงินกู้เพิ่มอีกเป็นจำนวนเงินรวม 10300 ล้านเหรียญ
 รวมรบ.ชวลิต และ รบ.ชวนกู้ไอเอ็มเอฟมา 14300ล้านเหรียญ (ประมาณ 5.1แสนล้านบาท)


รัฐบาลชวน ได้จ่ายหนี้ เพียงงวดเดียวจำนวน1หมื่นล้านบาท เมื่อวันที่ 14 สค. 43 เพราะลาออกจากตำแหน่ง วันที่9กพ.44 ก่อนจะเงินงวดวันที่ 14กพ.44(เงื่อนไขและวิธีการจ่ายคืนเงินกู้ไอเอ็มเอฟ คือ เงินกู้แต่ละงวดแต่ละก้อน จะต้องจ่ายคืนเมื่อครบกำหนด 3 ปี ยกตัวอย่าง ก้อนที่ได้มา 14 พ.ย. 40 ก็มีกำหนดจ่ายคืน 14 พ.ย. 43 (นับไปอีก 3 ปี) เป็นต้น


 พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เข้าดำรงตำแหน่งนายกเมื่อวันที่ 9กพ.44 ต่อจาก นายชวน จึงต้องรับใช้หนี้ที่ สองรัฐบาลกู้จากไอเอ็มเอฟมา จำนวน 5แสนล้านบาท และ จำนวนเงินที่ชำระก่อนกำหนด คือ 60000ล้านบาท



ทั้งนี้ หนี้ในส่วนโครงการไอเอ็ม จำนวน 1.43 หมื่นล้านดอลลาร์ 
โดยเป็นการกู้จากไอเอ็มเอฟ จำนวน 3.4 พันล้านดอลลาร์ (stand-by arrangement) คิดตามอัตราดอกเบี้ย SDR 2.23%(สกุลเงินไอเอ็มเอฟ โดย 1SDR = 1.31417 ดอลลาร์)
ก้อนที่สอง จากธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าญี่ปุ่น (J-EXIM) จำนวน 4,000 ล้านดอลลาร์ อัตราดอกเบี้ย 2-3% ต่อปี
ที่เหลือเป็นเงินกู้จากธนาคารกลางประเทศต่างๆ จำนวน 10 ประเทศ ที่ขอเข้าร่วมโครงการอีกประมาณ 6,900 ล้านดอลลาร์ คิดอัตราดอกเบี้ย LIBOR ระยะ 6 เดือน
สัญญาเดิมจ่ายหมดไตรมาส 2 ปี 47
ส่วนการชำระคืนตามสัญญาเดิม เฉพาะเงินกู้ไอเอ็มเอฟ ตกลงกันว่า จ่ายไตรมาสละ 225 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เริ่มชำระคืนงวดแรก ไตรมาส 4 ปี 2543 และหากชำระตามข้อตกลง จะจ่ายหมดภายในไตรมาส 2 ปี 2547 ทั้งนี้ รัฐบาลต้องการให้เลื่อนมาจ่ายหมดภายในปี 2546
ในส่วนเงินกู้จากธนาคารกลางต่างๆ ชำระงวดแรก ไตรมาส 1 ปี 2544 ตามสัญญาต้องจ่ายไตรมาสละ 350 ล้านดอลลาร์ และจะหมดในไตรมาส 3 ปี 2547
ขณะที่ J-EXIM จะเริ่มจ่ายไตรมาส 4 ปีหน้า(ปี46) โดยตามสัญญาต้องจ่าย ไตรมาสละ 570 ล้านดอลลาร์ และจะชำระหมดไตรมาส 2 ปี 2548

ใช้หนี้ไอเอ็มเอฟก่อนกำหนดสไตล์ทักษิณ
หนี้ก้อนสุดท้าย 1715 ล้านเหรียญ ประมาณ 60000 ล้านบาท
ลดดอกเบี้ยจากการจ่าย หนี้ก่อนกำหนด 2 ปี = 5000 ล้านบาท


 ธปท.สรุปศุกร์นี้ คืนหนี้ไอเอ็มเอฟ ก่อนเวลา กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/news/news2002dec25p3.htm

 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี20.30 น. วันที่ 31 กรกฎาคม2546
http://maha-arai.blogspot.tw/2009/03/blog-post_3416.html

กำหนดระยะการชำระคืนหนี้เงินกู้โครงการ IMF
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q3/2006august08p04.htm

เงื่อนไขและวิธีการจ่ายคืนเงินกู้ไอเอ็มเอฟ
 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B4%E0%B8%93_%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3


ได้มีผู้บอกว่า ดอกเบี้ยที่กู้จากไอเอ็มเอฟแค่ 0.25% นั้นไม่เป็นความจริง เพราะ ความจริง ดอกเบี้ย คือ 2.23 -3 % เพราะฉะนั้นเป็นไปไม่ได้ ที่จะเอาเงินก้อนสุดท้ายที่ชำระหนึ้ไอเอ็มเอฟ มาฝากธนาคาร และ ได้ดอกเบี้ยจากเงินฝากนั้น
--------------------
หนี้ในส่วนโครงการไอเอ็ม จำนวน 1.43 หมื่นล้านดอลลาร์ โดยเป็นการกู้จากไอเอ็มเอฟ จำนวน 3.4 พันล้านดอลลาร์ (stand-by arrangement) คิดตามอัตราดอกเบี้ย SDR 2.23%
ก้อนที่สอง จากธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าญี่ปุ่น (J-EXIM) จำนวน 4,000 ล้านดอลลาร์ อัตราดอกเบี้ย 2-3% ต่อปี
ที่เหลือเป็นเงินกู้จากธนาคารกลางประเทศต่างๆ จำนวน 10 ประเทศ ที่ขอเข้าร่วมโครงการอีกประมาณ 6,900 ล้านดอลลาร์ คิดอัตราดอกเบี้ย LIBOR ระยะ 6 เดือน
---------------------
ธปท.สรุปศุกร์นี้ คืนหนี้ไอเอ็มเอฟ ก่อนเวลา กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/news/news2002dec25p3.htm

กำหนดระยะการชำระคืนหนี้เงินกู้โครงการ IMF
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q3/2006august08p04.htm


 การที่นายอภิสิทธิ์บอกว่า ที่นายชวนไม่ใช้หนี้ไอเอ็มเอฟก่อนกำหนดเพราะไม่ต้องการเสียปรับ เป็นการตอแหลสิ้นดี เพราะ นายชวนไม่มีปัญญาใช้หนี้ได้แน่ๆ เพราะก่อนนายชวนจะลาออกจากนายกฯ ได้จ่ายหนี้เพียงงวดเดียวเท่านั้น
http://www.imf.org/external/np/fin/tad/extrans1.aspx?memberkey1=940&endDate=2011-06-28&finposition_flag=yes

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น

twitter

ห้องแชทKonthaiuk